แหล่งรวมซอฟต์แวร์ และบทความไอที สาระน่ารู้ทั่วไปที่น่าสนใจ

Cirrhosis แนะนำอาหารในผู้ป่วยตับแข็ง และผู้ที่มีอาการทางสมองจากตับแข็ง

Cirrhosis

เมื่อเกิดการอักเสบเรื้อรังเป็นระยะเวลานาน ตับจะทำการซ่อมแซมตัวเอง กระบวนการซ่อมแซมจะสร้างเนื้อเยื่อพังผืดสะสมจนเกิดเป็นโรคตับแข็ง Cirrhosis หรือโรคตับแข็งนั้น ควรได้รับคำแนะนำทางด้านอาหารในผู้ป่วยตับแข็ง และผู้ที่มีอาการทางสมองจากตับแข็ง ภาวะที่ตับมีการก่อตัวของเนื้อเยื่อพังผืดส่วนเกิน อันเป็นผลจากภาวะตับอักเสบเรื้องรังจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น โรคพิษสุราเรื้อรัง ไวรัสตับอักเสบเรื้อรัง หรือไขมันคั่งในตับ เป็นต้น เมื่อเกิดการอักเสบเรื้อรังเป็นระยะเวลานาน ตับจะทำการซ่อมแซมตัวเอง กระบวนการซ่อมแซมจะสร้างเนื้อเยื่อพังผืดสะสมจนเกิดเป็นโรคตับแข็ง ทำให้ตับไม่สามารถทำงานได้ปกติ โรคตับแข็งระยะท้ายๆเป็นภาวะที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งตับอีกด้วย อาหารต้องห้ามในผู้ป่วยตับแข็ง ผู้ป่วยตับแข็งอาจต้องเลี่ยงเกลือ โดยเฉพาะในรายที่บวมน้ำ ทั้งนี้ควรมีการกินอาหารให้เพียงพอ และสะอาดด้วย    ควรทานอาหารที่สุกสะอาด ไม่ทิ้งค้าง แม้ทำใหม่ก็ตาม         ไม่กินของหมักดอง ไม่กินเหล้า ยาดองเหล้า         อย่ากินยาที่ไม่แน่ใจว่ามีผลต่อตับหรือไม่         ขี้เหล็ก ควรทานในลักษณะแกงที่ทำสุกสะอาด…Continue Reading

Aphasia คือภาวะของสมองถึงขั้นอันตรายหรือไม่ที่คุณควรรู้

Aphasia

โดย พ.ญ. ศิริกัญญา รุ่งเรือง ภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร หรือ อะเฟเซีย (Aphasia) คือภาวะที่มีปัญหาของการฟัง พูด อ่าน หรือ เขียน ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากพยาธิสภาพ หรือความผิดปกติในสมองส่วนที่ควบคุมเรื่องภาษา โดยในส่วนใหญ่มักจะอยู่ที่บริเวณสมองซีกซ้าย ไม่ว่าจะทำงานฟรีแลนซ์ พนักงานประจำ ก็สามารถเกิดอาการเหล่านี้ขึ้นได้วันนี้เราจะมาทำความรู้จักและหาสาเหตุกัน ประเภทของภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร การสื่อสาร คือการแลกเปลี่ยนข้อมูล ได้แก่ การรรับสาร การแปลความหมาย และการส่งสาร โดยอาการที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยแต่ละรายก็จะมีความรุนแรง และความผิดปกติแตกต่างกันออกไป กลุ่มฟังไม่เข้าใจ โดยเมื่อไม่เข้าใจจะไม่สามารถตอบโต้ได้ตรงกับคำถาม หรือเมื่อถูกถามจะงง ไม่สามารถสื่อสารตอบกลับมาได้ เช่น การพูด หรือการตอบไม่ตรงคำถาม…Continue Reading

Hyperlipidemia ภาวะไขมันในเลือดสูงเสี่ยงต่อโรคร้ายแรงอะไรมาดูกัน

Hyperlipidemia

ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง เป็น 1 ในโรค NCDs ที่ผู้คนทั่วโลกเป็นมากที่สุด และเป็นสาเหตุหลักของความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง (โรค CADs) จึงได้ชื่อว่า ภาวะไขมันในเลือดสูง (Hyperlipidemia) ที่มี 3 กลุ่ม ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดส่วนปลาย เนื่องจากเกิดภาวะเส้นเลือดตีบตัน จึงไม่สามารถส่งสารอาหารและเกิดภาวะพร่องออกซิเจนต่อระบบการทำงานของหัวใจและสมอง ที่ส่งผลต่อการเกิดอาการหัวใจวาย หรือหลอดเลือดสมองแตกได้ ❈ อายุไม่เกิน 19 ปี ●   คอเลสเตอรอลรวม = ต่ำกว่า 170 mg/dL●   Non-HDL คอเลสเตอรอล =…Continue Reading

โรคซึมเศร้าปัญหาที่แก้ได้ด้วยเทคนิค Transcranial magnetic stimulation

Transcranial magnetic stimulation

โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างหนึ่งเพราะเป็นโรคที่คนทั่วไปอาจยังไม่ค่อยเข้าใจหรือยังไม่ค่อยตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากโรคนี้ ปัจจุบันมีทางรักษาให้อาการบรรเทาขึ้นด้วย Transcranial magnetic stimulation ผู้ป่วยบางคนอาจไม่รู้ตัวว่ามีอาการของโรคซึมเศร้าอยู่ หรือแม้กระทั่งญาติหรือคนใกล้ชิดก็อาจไม่ได้สังเกตว่าคนใกล้ตัวกำลังมีภาวะซึมเศร้าอยู่ หรือบางคนถึงกับคิดไปว่าผู้ป่วยคิดมาก เครียดเกินไป หรือคิดไปเอง ทำให้ผู้ป่วยหลาย ๆ คนได้รับการรักษาช้าหรือมีอาการรุนแรงมากจนเกิดผลกระทบที่รุนแรงตามมา เช่น การคิดฆ่าตัวตาย การพยายามฆ่าตัวตาย และหลายปีมานี้มีการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตจำนวนมาก และผู้ที่ติดเชื้อที่หายแล้วหลาย ๆ รายมี “ภาวะลองโควิด” ซึ่งพบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีปัญหาสุขภาพจิด เช่น วิตกกังวล ปัญหาด้านการควบคุมอารมณ์ ภาวะนอนไม่หลับ และอาจนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ซึ่งทำให้มีคนป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามากขึ้นในปัจจุบัน โดยเทคนิคที่ว่านั่นคือ เทคโนโลยีการรักษาด้วยการกระตุ้นสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านกะโหลกศีรษะจากภายนอก โดยจะปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปกระตุ้นเซลล์ประสาทในสมองให้ทำงานได้ดีขึ้นเพื่อฟื้นฟูประสิทธิภาพการทำงานของสมองและลดอาการของโรคซึมเศร้า ซึ่งนอกจากโรคซึมเศร้าแล้ว TMS ยังมาใช้รักษาโรคเกี่ยวกับระบบประสาทและสมองอื่น…Continue Reading

Emphysema โรคใกล้ตัว ถ้าคุณคิดว่าเข้าข่ายต้องอ่านเลย

Emphysema

บางคนรู้หรือไม่ว่าโรค Emphysema โรคใกล้ตัวมากขึ้นทุกวัน นั่นคือ ‘โรคถุงลมโป่งพอง’ เป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่มีปัจจัยเสี่ยงใกล้ตัว เพราะโรคนี้สามารถเกิดขึ้นได้จากการสะสมมลพิษผ่านการสูดดมเข้าสู่ร่างกายเป็นเวลานาน ก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายถึงขั้นระบบหายใจล้มเหลวได้ ถือเป็นอีกหนึ่งโรคที่ควรทำความเข้าใจ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง เป็นภาวะของถุงลมภายในปอดมีการขยายตัวมากขึ้นกว่าปกติ ส่งผลให้พื้นที่ผิวปอดน้อยลง จนเกิดความยากลำบากในการหายใจ และทำให้ส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ได้รับออกซิเจนในปริมาณที่เหมาะสม ปัจจัยเสี่ยงมี 2 ประการใหญ่ๆ คือการได้รับสารกระตุ้นและการหายใจเอามลพิษเข้าสู่ร่างกาย การได้รับสารกระตุ้นที่ทำให้เกิดโรคถุงลมโป่งพองเช่น การสูบบุหรี่ การสูดดมควันบุหรี่ เป็นต้น ส่วนการหายใจเอามลพิษเข้าสู่ร่างกาย คือการสูดดมมลพิษจากการเผาไหม้จากทั้งในและนอกครัวเรือน เช่น การสูดดมควันรถยนต์ การสูดดมควันที่เกิดจากการทำอาหาร เป็นต้น แม้ว่าในอดีตจะพบว่าผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพองกว่า 80% นั้นเกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ แต่ปัจจุบันตรวจพบว่ามีผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพองที่ไม่สูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงต้องระวังกันมากขึ้นในเรื่องของการสูดดมมลพิษเข้าสู่ร่างกาย เพราะเพียงแค่ทำอาหารภายในครัวเรือนก็กลายเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวได้…Continue Reading

Salary income เห็นเงินเดือนเท่านี้ ออมเงินเท่าไรดีในปี 2022

Salary income

การออมเงินถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการเงิน เพราะสามารถต่อยอดไปได้ในหลาย ๆ เรื่อง รวมถึงเป็นหลักประกันให้เราในช่วงเวลาฉุกเฉิน ไม่ว่าคุณจะทำงานในบริษัทหรือจะทำเป็น ฟรีแลนซ์ เองก็ตาม แต่หนึ่งในคำถามที่ยากพอ ๆ กันคือเรื่องของจำนวน ว่าออมเท่าไหร่ดี ถึงจะเหมาะ วันนี้เรามีคำแนะนำที่จะช่วยให้คุณออมเงินได้ตามที่คุณต้องการ ไม่มีตัวเลขที่ตายตัว อยู่ที่ว่าเราออมเงินว่าได้เท่าไหร่ สิ่งแรกที่เราต้องคุยกันก่อนคือเรื่องของจำนวนเงินออมในแต่ละเดือน ที่ไม่มีสูตรตายตัวว่าจะต้องเก็บเงินเท่าไหร่ เดือนละกี่บาท เพราะว่าค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้นหากถามว่าเงินเดือนเท่านี้ออมก็บาท คำตอบที่ได้อาจจะหลากหลาย แล้วแต่ความสะดวกของแต่ละคน โดยปกติแล้วเงินออมจะอยู่ที่ประมาณ 5-30 % ของเงินเดือนหรือรายได้ อันนี้สามารถที่จะลองนำไปปรับใช้กับตัวเราได้เลย เงินเดือนน้อยก็ออมเยอะได้ ถ้ารายจ่ายไม่มาก สำหรับใครที่เพิ่งเริ่มงานใหม่ไม่นานหรือ Frist Jobber การเก็บเงินอาจจะดูเป็นเรื่องยากลำบาก หากจะให้พูดเป็นตัวเลข…Continue Reading

มีวิธีรักษาและดูแลตัวเองเมื่อเป็นไข้เลือด (Dengue fever) ออกอย่างไร ไม่ให้ช็อก

Dengue fever

ไข้เลือดออกนั้นจัดเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกิ ซึ่งมีอยู่ 4 สายพันธุ์ และสามารถแพร่ได้โดยมียุงลายเป็นพาหะ โดยมียุงลายเป็นพาหะ โดยลักษณะของโรคที่สำคัญคือ มีไข้สูง มีอาการเลือดออก และหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีก็อาจทำให้เกิดภาวะช็อกซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จึงต้องมีการ ติดตาม เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของโรคอย่างใกล้ชิด และให้การรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่เกิดภาวะช็อก 1.ระยะแรก สำหรับระยะแรกนี้เป็นระยะที่ผู้ป่วยจะมีไข้สูงประมาณ 5-7 วัน โดยอาจจะมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีผื่นหรือจุดแดงตามร่างกาย แขน ขา บางรายอาจจะเบื่ออาหาร และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย 2.ระยะวิกฤต ระยะนี้เป็นระยะที่ต้องระวังมากที่สุด ผู้ป่วยจะมีอาการเพลียและซึม ปัสสาวะออกน้อย มีอาการปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณชายโครงขวา รวมถึงมีเลือดออกผิดปกติ เช่น เลือดกำเดาไหล อาเจียนเป็นเลือด…Continue Reading

ทำความเข้าใจและรู้จักกับ Calling งานรักที่ใช่ ที่ไม่ได้เป็นแค่อาชีพ

Calling

“ถ้าคุณเจองานที่ใช่ คุณจะไม่ต้องรู้สึกเหมือนต้องทำงานอีกเลยทั้งชีวิต” เป็นประโยคเด็ดที่ไว้คอยย้ำเตือนให้เราค้นหาสิ่งที่รัก แล้วนำมาเป็นอาชีพจนเป็น ฟรีแลนซ์ เองก็ได้เลยนะ แต่จะมีซักกี่คนที่จะไปถึงจุดที่ได้ทำงานที่รัก อาจด้วยความเร่งรีบในสังคมปัจจุบัน ที่ทุกคนต้องหาเงินให้ได้เยอะ ๆ เร่งประสบความสำเร็จให้ได้ตั้งแต่อายุยังน้อย เพื่อมาตอบสนองไลฟ์สไตล์ตามระบบทุนนิยม ตามแบบค่านิยม “ชีวิตดี ๆ ที่เงินซื้อได้” ทำให้หลายคนละเลยที่จะตามหางานที่ใช่ ก้มหน้าก้มตาทำงานที่มีอยู่เพื่อแลกมากับเงินเดือนไว้ใช้จ่ายในชีวิต นานวันเข้าก็พาตัวเองเข้าสู่จังหวะชีวิตที่รู้สึก “Burn out” ไม่อยากตื่นขึ้นมาทำงานเอาซะดื้อ ๆ เราเลยอยากชวนคุณมาตามหา “Calling” งานรักที่ใช่ ที่ไม่ได้เป็นแค่อาชีพไว้คอยหาเลี้ยงปากท้องเท่านั้น แต่ยังเป็นงานที่เติมเต็มชีวิตและจิตใจของคุณไปพร้อม ๆ กัน Job, Career และ Calling ก่อนจะไปตามหา…Continue Reading

ภาวะไขมันพอกตับ (Fatty Liver) ภาวะที่มีการสะสมของไขมัน

Fatty Liver

การทานฟาสต์ฟู้ดหรือการดื่มแอลกอฮอล์สุดเหวี่ยงในคืนวันหยุด อาจเป็นเรื่องปกติของคนยุคใหม่หลาย ๆ คน แต่อย่าลืมคำนึงถึงว่าพฤติกรรมดังกล่าว อาจส่งผลให้ร่างกายตกอยู่ใน “ภาวะไขมันพอกตับ” (Fatty Liver) ประตูสู่การเกิด “มะเร็งตับและโรคตับแข็ง” ได้ง่ายมากขึ้น โดยปกติแล้วไขมันที่ร่างกายได้รับจะถูกเผาผลาญที่ตับและเนื้อเยื่ออื่น ๆ แต่หากร่างกายได้รับมากเกินความจำเป็นจะถูกสะสมที่ตับ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride) และพัฒนากลายเป็น “ภาวะไขมันพอกตับ (Fatty Liver)” ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ป่วยจะไม่ทราบว่าตนเองตกอยู่ในภาวะไขมันพอกตับ เนื่องจากโรคนี้ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ อาจตรวจพบความผิดปกติจากการเจาะเลือดตรวจสุขภาพ โดยในบางรายอาจพบอาการได้ดังนี้ เหนื่อยบ่อย อ่อนเพลีย และไม่มีแรง มีอาการไม่สบายท้อง ปวดแน่นบริเวณใต้ชายโครงขวา มีอาการคลื่นไส้ น้ำหนักลดผิดปกติ และอยากอาหารน้อยลง สมาธิสั้นลง มึนงง และความสามารถในการตัดสินใจต่ำลง สาเหตุการเกิด “ภาวะไขมันพอกตับ” 1. การดื่มแอลกอฮอล์เป็นเวลานาน หรือดื่มมากเกินไป…Continue Reading

โรคกระเพาะ ปวดท้อง แสบท้องบ่อยต้องรู้จักเชื้อ เอช.ไพโลไร H. Pylori

H. Pylori

ปี 2525 นายแพทย์ชาวออสเตรเลีย ชื่อ นายแพทย์โรบิน วอร์เรน (J.Robin Warren) ได้ค้นพบเชื้อแบคทีเรียตัวหนึ่งในกระเพาะอาหารที่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการอักเสบในกระเพาะอาหาร เกิดแผลในกระเพาะอาหารและเกิดมะเร็งในกระเพาะอาหาร ในขณะนั้นความสำคัญของเชื้อแบคทีเรีย เอช.ไพโลไร ยังไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก แต่ ณ ปัจจุบัน การค้นพบเชื้อแบคทีเรีย เอช.ไพโลไร ของนายแพทย์โรบิน วอร์เรน เป็นที่ยอมรับและเป็นการเปิดมิติใหม่ในการรักษาโรคกระเพาะอาหาร ซึ่งถือได้ว่าการค้นพบครั้งนี้ได้สร้างคุณประโยชน์ให้แก่มวลมนุษยชาติเป็นอย่างมาก แบคทีเรีย เอช.ไพโลไร คืออะไร เชื้อ เอช.ไพโลไร เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปร่างเกลียว (Spiral) จะพบเชื้อได้ในกระเพาะอาหารของประชากรทั่วโลกมากถึง 50% เชื้อ เอช.ไพโลไร เป็นสาเหตุสำคัญของแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น รวมถึงมะเร็งกระเพาะอาหาร เชื้อสามารถติดต่อกันได้จากการอยู่ใกล้ชิดกันในครอบครัว จากแม่สู่ลูกหรือจากการรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายทางปากโดยอาจมีเชื้อปนเปื้อนอยู่ในอาหาร…Continue Reading